วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 4 วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ศีกษาเกี่ยวกับการเขียนการแปลสรุปบทความ News translation 




         หาบทความเกี่ยวกับฟอนต์ในเว็บต่างๆเพื่อเอามาศึกษาและแปลความหมายในบทความพร้อมสรุปเรื่องที่แปลการออกแบบเกี่ยวกับฟอนต์ขนาดมาตรฐานของฟอนต์ตัวอักษร17 Font Arial จัดหน้ากระดาษให้เรียบร้อยไปศึกษาเรื่องฟอนต์การเขียนอักษรต้องมีโครงสร้างที่เหมือนกันเป็นเซ็ทเดียวกันการวัดขนาดการวางแผนตัวอักษรในกระดาษกราฟ   ก่อนเขียนฟอนต์ควรเพิ่ม Layers และ Show Grid ศึกษาโคร้งสร้างตัวอักษรกฤษใช้ตัว U เป็นโครงสร้างภาษาไทยใช้ กและ บ เป็นโครงสร้าง


โครงสร้างฟอนต์









ขอขอบคุณ อาจารย์ประชิด ทิณบุตร อาจารย์ผู้สอน

เข้าไปศึกษาหาความรู้ได้ที่ http://thaifont.info/
ศึกษาวิธีการดาวน์โหลด Python Download ลงเครื่องไวเเพื่อการเรียนรู้แหล่งที่มาhttp://python.joydownload.com/&c=9?gclid=CLuV78GsibsCFYtV4godlkQAIw
งานที่สั่ง
-ออกแบบฟอนต์ในกลุ่มคนละแบบและสร้างโฟลเดอร์เพื่อส่งงานกลุ่ม
-ดาวน์โหลด Python Download ลงเครื่องไว้

วันจันทร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 3 วันอังคารที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

สรุปการเรียน

หลักการตั้งชื่อต่างๆแนะนำให้ตั้งเป็นภาษาอังกฤษเพื่อง่ายต่อการค้นหาเอกสารต่างๆ
หลักเกณฑ์การส่งงาน นำหน้าด้วยรหัสวิชา ตามด้วยชื่อของตนเอง รหัสนักษาและชื่องานที่ต้องการจะส่งลากfontจะมีDNAงานทุกอย่างใช้ร่วมกันเป็นการแชร์งานต่างไปออนไลน์ให้ทุกคนเห็นการออกแบบฟอนต์แต่ละครั้งต้องรู้จักสืบค้นฟอนต์นั้นๆซ่ะก่อนวันนี้อาจารย์ได้วิจารณ์งานนักศึกษาแต่ล่ะคนพร้อมกับแนะแนวทางใหม่ๆให้นักศึกษารู้จักการดัดแปลงฟอนต์ของประเทศไทยมี 2 แบบคือมีหัวกับไม่มีหัว



งานที่สั่ง
-  การบ้านทุกสัปดาห์ของทุกคนแบบบันทึกรายชื่อเว็ปไซด์แหล่งเรียนรู้ ศึกษาแบ่งปันในรายวิชาผศ.ประชิด ทิณบุตร
- แบ่งกลุ่มกลุ่มล่ะ 5 คนช่วยกันออกแบบชื่อกลุ่มโลโก้สินค้าเพื่อไปใช้ในการผลิตฟอนต์จะมี2แบบมีหัวกับไม่มีหัวในเดือนกุมภาพันธ์จะมีงาน Gift on the moon สร้างสินค้าของแต่ล่ะกลุ่มเพื่อนำไปขายในงาน
ตกแต่งร้านมีบันทึกแบบฟอร์มการขาย  การเข้าร่วมงานได้ให้คะแนน 15 แต้ม
- ให้กสร้าง Blogger ของกลุ่มเป็นส่วนรวม
-  ชื่อกลุ่ม The imagination of Design "จินตนาการแห่งดีไซด์"

ออกแบบฟอนต์หัวข้อ "ก ชวนอวดอักษรไทยให้ปรากฏจริง Hamburgefonstiv"(วันจันทร์ที่18พฤศจิกายน)

ออกแบบฟอนต์หัวข้อ "ก ชวนอวดอักษรไทยให้ปรากฏจริง Hamburgefonstiv"



วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 2 วันอังคารที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับ การเขียนบล็อกอย่างถูกต้อง และการปรับแต่งแก้ไขบล็อคให้น่าสนใจ เช่นการใส่ข้อความรูปภาพ และแก็ตเจตต่างๆ การแชร์โพสต์ของบล็อกไปยังโซเชี่ยลเน็ตเวิร์คอาจารย์พูดคุยเรื่องแบบสำรวจศักยภาพและความพึงพอใจของผู้เรียนผลการประเมินต่างๆโดยดูผลสรุปการประเมิน
ศึกษาเพิ่มเติมของ Fontlab FontCreator การลงโปรแกรมและการใช้งาน
อาจารย์มอบหมายงาน ออกแบบตัวอักษรไซส์ a3 ด้วยโปรแกรม Illustrator ปรินท์ลงกระดาษขนาด a4
โดยต้องปรากฏงานดังนี้ "ก ชวนอวดอักษรไทยให้ปรากฏจริง Hamburgefonstiv"
ตัวอย่าง ฟอนต์ Font



- สมัครเรียนใน E-Learning แล้วสอบ pre-test ในรายวิชา ARTD2304 และบอกผลการสอบให้อาจารย์

-เว็บสร้างแบบสอบถามของตนเอง Survey Can.com สมัครฟรีเข้าไปสร้างแบบสอบถามของตนเองได้
-อาทิตย์หน้าให้เตรียม สมุดดราฟ และ ดินสอสองบี

ขอขอบคุณ 
อาจารย์ประชิด ทิณบุตร อาจารย์ผู้สอน


วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บทความฟอนต์ (วันจันทร์ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2556)

ความแตกต่างของไทป์เฟซกับฟอนต์

บุคคลทั่วไปมักใช้คำว่า ฟอนต์ (font/fount) เรียกแทนไทป์เฟซ หรือใช้เรียกสลับกัน แต่ในความจริงแล้วมีความหมายที่แตกต่างกัน ไทป์เฟซหมายถึงชุดตัวอักษรที่มีรูปแบบเดียวกัน ไม่ว่าจะมีขนาดใหญ่เล็กเท่าไร เช่น Arial, Arial Bold, Arial Italic และ Arial Bold Italic ต่างเป็นไทป์เฟซคนละชนิดกัน ส่วนฟอนต์จะหมายถึงชุดตัวอักษรที่มีทั้งไทป์เฟซและขนาดเดียวกัน ตัวอย่างเช่น Arial 12 พอยต์ก็เป็นฟอนต์หนึ่ง Arial 14 พอยต์ก็เป็นฟอนต์หนึ่ง Arial Bold 14 พอยต์ก็เป็นอีกฟอนต์หนึ่ง เป็นต้น ในการสร้างเอกสารแบบดิจิทัล ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนขนาดฟอนต์ได้เองในคอมพิวเตอร์ ทำให้ความแตกต่างของไทป์เฟซกับฟอนต์จึงลดความสำคัญลงไป

สำหรับตระกูลหรือสกุลของตัวอักษร (font/type family) มีความหมายกว้างกว่าไทป์เฟซ กล่าวคือ แบบตัวอักษรชื่อเดียวกันที่อาจมีรูปแบบต่างๆ กัน ถือเป็นแบบอักษรตระกูลเดียวกัน โดยปกติจะมี 4 รูปแบบคือ roman, italic, bold, bold italic แบบอักษรบางตระกูลอาจมี narrow, condensed หรือ black อยู่ด้วยก็ได้ ดังนั้น Arial, Arial Bold, Arial Italic และ Arial Bold Italic ทั้งหมดเป็นแบบอักษรในตระกูล Arial ในขณะที่ Helvetica หรือ Courier ก็เป็นอีกตระกูลหนึ่ง
ลักษณะทั่วไป
เชิงอักษร


แบบอักษรมีเชิง (เซริฟ)


แบบอักษรไม่มีเชิง (ซานส์เซริฟ)

"เชิง" คือส่วนที่เน้นสีแดง
ไทป์เฟซสามารถแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ แบบมีเชิง (serif) และแบบไม่มีเชิง (sans serif)


แบบเซริฟคือแบบอักษรที่มีขีดเล็กๆ อยู่ที่ปลายอักษรเรียกว่า เซริฟ ดังที่ปรากฏในตัวอักษรตระกูล Times แบบอักษรชนิดนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าแบบโรมัน (roman) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากอักษรที่จารึกไว้ในหินของอาณาจักรโรมัน เซริฟมีส่วนช่วยในการกวาดสายตาไปตามตัวอักษร ทำให้อ่านง่าย และนิยมใช้สำหรับพิมพ์เนื้อความ


ส่วนแบบซานส์เซริฟก็มีความหมายตรงข้ามกันคือไม่มีขีดที่ปลายอักษร และมีชื่อเรียกอีกอย่างว่าแบบกอทิก (gothic) อักษรชนิดนี้ไม่เหมาะกับการเป็นเนื้อความ แต่เหมาะสำหรับใช้พาดหัวหรือหัวเรื่องที่เป็นจุดเด่นซึ่งมองเพียงครั้งเดียว อย่างไรก็ตาม ฟอนต์สมัยใหม่ที่ได้รับการออกแบบในคอมพิวเตอร์ อาจมีทั้งแบบเซริฟและซานส์เซริฟปะปนกันในฟอนต์หนึ่งๆ
ความกว้างอักษร

Font คืออะไร(วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556)

Font คืออะไร

Font หรือแสดงผลได้ที่กำหนดแบบและขนาดประเภทการออกแบบสำหรับชุด ตัวอักษร คือ อักษร ครอบครัว อักษร เช่น Helvetica เป็น ครอบครัว อักษร Helvetica ตัวเอียง เป็น แบบอักษร ตัวเอียง และ Helvetica 10 piont คือ ตัวอักษร ในทางปฏิบัติ ตัวอักษร และ ตัวอักษรที่ ใช้โดยไม่เน้นความ ตัวอักษร เค้าร่าง แม่นยำเป็นซอฟต์แวร์ แบบอักษร ที่สามารถสร้างช่วงขนาดของฟอนต์ อักษรบิตแมป หรือ จำกัด กลุ่มของขนาด ตัวอักษร เค้าร่าง ซอฟต์แวร์ที่นิยมมาก 2 โปรแกรมปัจจุบันคือ ประเภท ที่แท้จริง และ ประเภท ของอะโดบี 1 โดยฟอนต์ ประเภท ที่แท้จริง มากับระบบการ ของ Windows และ Macintosh ส่วน ชนิดที่ 1 เป็น ตัวอักษร เค้าร่าง มาตรฐาน (ISO 9541 ) ทั้งฟอนต์ ประเภท จริง ประเภท และ 1 สามารถใช้กับเครื่องพิมพ์ ของ Adobe PostScript ( ถึงแม้ว่า ) Adobe พูดว่า ประเภท ฟอนต์ 1 สามารถใช้ได้เต็มที่กับภาษา สคริปต์ที่ โพสต์
แหล่งที่่่มา : widebase.net

http://www.com5dow.com/%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B9%8C-it/995-font-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html
font 
A font is a specific typeface of a certain size and style. For example, one font may be Arial 12 pt bold, while another font may be Times New Roman 14 pt italic. Most word processing programs have a Font menu that allows you to choose the typeface, size, and style of the text. In order to use a font, you must have it installed on your computer. Windows provides access to fonts using the Fonts control panel. The Mac OS stores fonts in a Fonts folder and includes a separate "Font Book" application for managing fonts.
ตัวอักษรเป็นแบบอักษรที่เฉพาะเจาะจงของขนาดบางและมีสไตล์ ตัวอย่างเช่นหนึ่งอาจจะเป็นตัวอักษร Arial 12 จุดตัวหนาในขณะที่ตัวอักษรอื่นอาจจะเป็น Times New Roman 14 พอยต์ตัวเอียง โปรแกรมส่วนใหญ่การประมวลผลคำมี Font เมนูที่ช่วยให้คุณสามารถเลือกแบบอักษรขนาดและลักษณะของข้อความ เพื่อที่จะใช้ตัวอักษรที่คุณต้องมีติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ หน้าต่างให้การเข้าถึงแบบอักษรโดยใช้แผงควบคุมแบบอักษรMac OS เก็บแบบอักษรในโฟลเดอร์แบบอักษรและรวมถึง "หนังสือแบบอักษร" แยกพลิเคชันสำหรับการจัดการแบบอักษร
แหล่งที่่มา : http://www.techterms.com/definition/font

วันจันทร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 1 วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2556


เข้าไปในเว็บ Typefacesdesing.blogspot.com โดยให้นักศึกษาด้วยตนเองและทำการบ้านโดยใส่รหัส E-mail ของตัวเองและทำแบบสอบถาม

กิจกรรมการเรียนการสอนเปิดเทอมวันแรก 2/2556 วิชาการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

ยินดีต้อนรับนักศึกษาทุกคน เข้าสู่เว็บบล็อกสนับสนุนการเรียนรู้แบบออนไลน์
กิจกรรมการเรียนการสอนเปิดเทอมวันแรก 2/2556 วิชาการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์
กลุ่มเรียน ภาคปกติ กลุ่ม 101, 102 และภาคนอกเวลา กลุ่ม 201 เรียนวันอังคาร ห้องกราฟิก2 อาคาร 32 ห้อง 32-505 ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร
กิจกรรมที่ต้องทำให้แล้วเสร็จภายใน 12 พ.ย.นี้ ได้แก่
1.คลิกเข้าร่วมเว็บไซต์นี้เพื่อรับทราบข่าวสารจากผู้สอน โดยคลิกเข้าร่วมเว็บไซต์นี้จากเมนูด้านข้างและเข้าอ่านเอกสาร มคอ.3 อาทิคำอธิบายรายวิชา เนื้อหากิจกรรม ระเบียบการประเมินผล วิธีการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ มคอ.3 จากเมนู มคอ ด้านบน
2.กรอกข้อมูลส่วนตัวเช่นอีเมลของ gmail.com เท่านั้น แจ้งเบอร์โทรศัพท์ส่วนตัว ในแบบบันทึกกิจกรรมการเรียนการสอน คลิกเข้าทำที่นี่ ตามกลุ่มเรียนและรายชื่อ
4.การเรียนรู้ด้วยตนเองและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะไอซีที โดยให้ผู้เรียนทุกคนสร้างเว็บบล็อกส่วนตัวเพื่อบันทึกการเรียนรู้ในรายวิชา โดยใช้ blogger Host ที่ blogspot.com โดยตั้งชื่อตามนี้คือ artd2304-ชื่อจริงภาษาอังกฤษ.blogspot.com จัดหน้าเว็บบล็อก 2 คอลัมน์ เหมือนกับเว็บบล็อกรายวิชานี้และเริ่มบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้นับแต่สัปดาห์แรกนี้เป็นต้นไป แล้วแจ้งชื่อ URL:address ไว้ในแบบบันทึกกิจกรรมการเรียนการสอน
5.สมัครเป็นสมาชิกใหม่ของระบบอีเลิร์นนิ่งที่ เมนู E-Learning ด้านบน โดยให้ศึกษาวิธีการด้วยตนเอง
-สมัครเป็นสมาชิกระบบก่อน(สำหรับผู้ที่ยังไม่เคยเป็นสมาชิก)ผู้ที่เป็นสมาชิกแล้วให้ตรวจสอบรหัสเข้าระบบให้เรียบร้อยและ..
-ให้สมัครเข้าเรียนในรายวิชา artd2304  ให้เรียบร้อย โดยจะมีการสอบ pretest ในวันที่ 11 พ.ย.นี้

ขอขอบพระคุณผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร http://typefacesdesign.blogspot.com/