วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2557


1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม  ได้ความมีวินัยในตนเองรับผิดชอบต่อหน้าที่ๆทำ
2.ด้านความรู้  ได้รู้เรื่อการทำฟอนต์การสร้างงานเพื่อเผยแพร่การทำโปรแกรมฟอนต์แลบ
3.ด้านปัญญา   เพิ่มสติปัญญาทางด้านการเรียนรู้และคนคว้าหาข้อมูลอยู่ตลอด
4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนรุ่นพี่มีมนุษย์สัมพันธ์ดี
5.ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  ได้รับรู้การทำงานในโปรแกรมต่างๆคนคว้างานเพิ่มเติมเผยแพร่ในบล็อกของตนเอง
6.ด้านทักษะวิชาชีพ สามารถนำไปใช้เป็นอาชีพได้ในการทำโปรแรมที่ได้ศึกษามา
7.ดังหลักฐานแสดงคือ 
แจ้งชื่อ-นามสกุล และกลุ่มเรียน สุภาวดี เยี่ยมสมุทร กลุ่ม102 รหัสนักศึกษา 5511302704 
1.เว็บบล็อกสรุปผลการเรียนรู้ ชื่อที่อยู่ URL:http://artd2304-supavadee.blogspot.com/

2.ได้สรุปเล่มรายงานผลการออกแบบสร้างสรรค์และพัฒนาแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์เผยแพร่ออนไลน์เป็นหนังสือออนไลน์โดยแสดงไว้ที่เว็บไซต์กลุ่มที่ http://issuu.com/groups/typography เชื่อมโยงเข้าอ่านเอกสารโดยตรงได้ตามที่อยู่ URLเอกสารโดยตรงตามลิงค์คือ.......
3.ได้สร้างฟ้อนต์เองชื่อCRU-supavadee 56.ttfโดยนำไฟล์ฟ้อนต์ภายใต้ชื่อลิขสิทธิ์ฟ้อนต์ตระกูล ซีอาร์ยู (CRU-Font Family) โดยส่งเผยแพร่แล้วที่บอร์ดตนเองที่ supavadee5511302704@gmail.com supavadee5511302704@gmail.com
โดยสามารถเข้าถึงได้ตามที่อยู่ URL Link www.interest.com/.https://plus.google.com/u/0/103799117371608116356/posts. 
โดยตรงคือ
 และใช้คำสืบค้น Tag คือคำว่า.....
หาคำถามได้ที่ http://typefacesdesign.blogspot.com/

วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

งาน Gift on the Moon 2014
11-13 กุมภาพันธ์ 2557 

ภาพบรรยากาศโดยรวมการจำหน่ายสินค้าทั้ง 3 วัน 

สมุดแฮนแมคร้าน Dee Font



ติดตามชมบรรยากาศในงานได้ที่




สามารถสั่งลายทำได้ตามใจชอบ ลูกค้าลุมร้านเราเลยคนเยอะมาก







แบบสมุดที่ออกแบบขายได้ ดีใจจังขิบคุณลูกค้าใจดีชอบการออกแบบ
โดยสุภาวดี เยี่ยมสมุทร











ขอบคุณลูกค้าใจดีที่มาอุดหนุน
และขอบคุณอาจาร์ยผู้สอน  
Typefaces Design : ออกแบบตัวอักษรและตัวพิมพ์

ติดตามบรรยากาศงานได้ที่ http://typefacesdesign.blogspot.com/

วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

งาน Gift on the Moon 2014 สินค้าที่ออกแบบ

โดยนางสาวสุภาวดี เยี่ยมสมุทร กลุ่ม Dee Font





ลายสมุดที่ออกแบบคนละ 10 แบบ

วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 9 วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

เข้าไปติดตามผลงานของอาจารย์ได้ที่  Pinterest  

เข้าไปสมัครและกดติดตามอาจารย์มีข้อมูลมากมายให้ศึกษาหาความรู้ โดยเข้าไปค้นหาชื่อ Prachid จะพบกับโปร์ไฟล์ของอาจารย์ 

         เข้าไปติดตาม 
















  • BOOKMARKS
  • BOOKMARKS FOR KIDS
  • STATIONARY DESIGN
  • FABRIC CRAFTS
  • CANDLES DIY

ดูการออกแบบที่ทันสมัยดูดีและสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
FontLab
ทดสอบตัวอักษรเข้าไปเอาไฟล์จากอาจารย์ผู้สอนได้แชร์เอาไว้ใน ไดรฟ์ การเทียบฟอนต์เข้าไปที่
Window - Panels - Preview จะขึ้นฟอนต์มาเทียบศึกษาฟอนต์แลบการแสดงผลต่างๆเพื่อนำมาเป็นฟอนต์ของตนเองศึกษาเรื่องรหัสยูนิโค้ดเข้าไปศึกษาเว็บอาจารย์  อักขระภาษาไทย 

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 8 วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557

ตรวจสอบและรับฟังคำวิจารณ์ ความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์กับอาจารย์ เพื่อไปปรับปรุงแก้ไขงานของกลุ่ม DEEFONT




  • ดยมีข้อเสนอความคิดเห็นจากอาจารย์ดังนี้
  • ผลิตภัณฑ์ต้องขายได้ และต้องรุู้ว่าขายกับใคร ผลิตภัณฑ์ต้องมีขายตลอดสามวันที่จัดงาน
  • การดำเนินงานต้องเป็นตามหลัก 3 ส. สืบค้น สมมติฐาน สรุป 

  • สืบค้น - คือการค้นขว้ารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จะขาย สิ่งที่จะเอามาประกอบกับการขาย เช่นผลิตภัณฑ์นี้คืออะไร คุณสมบัติประโยชน์การใช้งานมีอะไรบ้าง มีที่มาและกระบวนการผลิตยังไง ประวัติและต้นกำเนิด บรรจุภัณฑ์ทำจากอะไร ลักษณะอย่างไร วิธีการผลิตความยากง่ายในการทำต้นทุนและกำไรเท่าไหร่ ลวดลาย การออกแบบสัญลักษณ์ที่ใช้มาจากอะไร ที่มายังไง การทำงานเป็นไปในทิศทางไหน ประกอบด้วยอะไรบ้าง ขายให้ใครเป้าหมายกลุ่มไหน รวมไปถึงการแบ่งหน้าที่การทำงานในกลุ่ม ว่าใครทำอะไร จะทำสไตล์ไหน อย่างไร รวมถึงวัตถุประสงค์ของการทำงาน และเครื่ององมือที่ใช้ในการศึกษา


  • สมมติฐาน - คือการคาดคะเนผลที่จะได้รับและ ความเป็นไปได้ในการทำสินค้านั้น ต้องมีแบบเกตช์ การทดลอง และทดสอบ ทำของตัวอย่าง โดยผ่านการกลั่นกรองมาจากขั้นตอน ส.แรก คือ สืบค้น โดยต้องมีความเกี่ยวข้องและการออกแบบที่สอดคล้องกับเนื้อหาสาระวิชา โดยมี Mood Board และรายงานนำเสนอเพื่อรับคำปรึกษากับอาจารย์


  • สรุป - คือการประมวลผลสัมฤทธิทางการศึกษาทั้ง หมด ออกมาเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าจริงจำหน่ายในงาน Gift on the Moon 2014 โดยการทำรูปเล่ม การนำเสนอ โดยวัดผลจากยอดขายในการจำหน่าย และความพึงพอใจของผู้บริโภค โดยสรุปผลถึงปัญหาที่พบ ข้อเสนอแนะต่างๆ


ส่งรายงานการแก้ไขโดยคร่าวๆ
เนื่องจากผลิตภัณฑ์ไม่ผ่านการพิจารณา และเริ่มต้นแก้ไขดำเนินงานใหม่โดยสัปดาห์ต่อไปต้องมีงาน
Mood Board และ ผลิตภัณฑ์ตัวอย่างของสมาชิกในกลุ่มของแต่ละคน เพื่อ นำเสนอแนวความคิดของสมาชิกกับสินค้าที่ทำของตนเอง ที่สอดคล้องกับรูปแบบเป้าหมาย หรือ concept ของผลิตภัณฑ์ที่กำหนด
พร้อม รายงาน 1 ฉบับ

วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 7 วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557


นำตัวอักษรในโปรแกรม Illustrator มาต่อยอดในโปรแกรม Font Lab

นำตัวอักษรในโปรแกรม Illustrator มาต่อยอดในโปรแกรม Font Lab
งานที่ได้รับมอบหมาย - นำตัวอักษรที่เราดราฟใน Illustrator มาต่อยอดในโปรแกรม Font Lab

ตัวอย่าง 












ขอขอบคุณอาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์ ประชิด ทิณบุตร




วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556

แปลสรุปข่าว โดยฟอนต์-(Bookmania)




แปลสรุปบทความ

เรื่องที่ 1 Biome


ผู้ออกแบบ : by Carl Crossgrove 

ศึกษาข้อมูลจาก : http://www.linotype.com/6765/biome.html

แปลสรุปโดย  นางสาวสุภาวดี เยี่ยมสมุทร

รหัสนักศึกษา 5511302704 กลุ่มเรียน 102

G-mail :  Supavadeee5511302704@gmail.com

Publish Blog :https://plus.google.com/u/0/103799117371608116356/posts

รายงานวิชา ARTD2304 การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์





Biome

                          อ้างอิงภาพ http://www.linotype.com/1093399/Biome-family.html

Biome: a contemporary, retro-futuristic sans serif
Biome™ by Carl Crossgrove is a striking and individual typeface that has a vast spectrum of potential uses. Its shapes combine elements of biomorphism with minimalist elements and the humanist tradition of font design. This hyperfamily with its 42 variants is not only at home in print design projects, but is the perfect webfont for internet sites.
นิเวศน์วิทยา: ร่วมสมัย, ซันส์ย้อนยุคอนาคต serif
     โดยคาร์ล Crossgrove เป็นแบบอักษรที่โดดเด่นและบุคคลที่มีคลื่นขนาดใหญ่ของการใช้งานที่มีศักยภาพ รูปร่างของมันรวมองค์ประกอบของ biomorphism กับองค์ประกอบเรียบง่ายและประเพณีมนุษยนิยมของการออกแบบตัวอักษร hyperfamily 42 พันธุ์ของมันนี้ไม่เพียง แต่ที่บ้านในโครงการออกแบบพิมพ์ แต่ webfont ที่สมบูรณ์แบบสำหรับเว็บไซต์อินเทอร์เน็ต



Biome
                                     http://www.linotype.com/1093399/Biome-family.html


Biome is essentially in the sans serif tradition and the letters exhibit only minor variations in terms of line thickness. There is still a suggestion of the superellipse at many points, but this never becomes the predominant design factor. While most of the terminals of the vertical strokes are only slightly rounded, the horizontals and diagonals have pronounced arches and it is these that basically determine the round and soft character of the typeface.
The more unconventionally shaped letters, such as the lowercase ‘g’ with its two semi-open counters and the ‘k’ and ‘x’ with their crossbars, provide Biome with an individual personality. And this effect is emphasised by the generously rounded links in the ‘v’ and ‘w’ and the uppercase ‘M’ and ‘N’.
     
        นิเวศน์วิทยาเป็นหลักในประเพณีซอง serif และตัวอักษรแสดงเพียงการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยในแง่ของความหนาของเส้น ยังมีข้อเสนอแนะของ superellipse ที่หลายจุด แต่เรื่องนี้ไม่เคยจะกลายเป็นปัจจัยการออกแบบที่โดดเด่น ขณะที่ส่วนใหญ่ของอาคารของจังหวะแนวตั้งเป็นเพียงโค้งมนเล็กน้อย horizontals และเส้นทแยงมุมได้เด่นชัดโค้งและเป็นเหล่านี้ที่เป็นพื้นกำหนดรอบและลักษณะอ่อนของแบบอักษร
ตัวอักษรที่มีรูปทรงแหวกแนวมากขึ้นเช่นพิมพ์เล็ก 'g' กับสองกึ่งเปิดเคาน์เตอร์และ 'k' และ 'x' ด้วยการยอมของพวกเขาให้นิเวศน์วิทยาด้วยบุคลิกภาพของแต่ละบุคคล และผลกระทบนี้จะเน้นโดยการเชื่อมโยงที่โค้งมนอย่างไม่เห็นแก่ตัวใน 'วี' และ 'w' และตัวพิมพ์ใหญ่ 'M' และ 'N'
Biome



Biome
                                      http://www.linotype.com/1093399/Biome-family.html


Although the remarkable individuality of Biome is most clearly apparent in the larger point sizes, this typeface is not just suitable for producing headlines and logos. Biome’s elegant visual effects mean that it is equally comfortable in short texts while its large x-height and generous counters make it readily legible even in the small font sizes. Biome is a contemporary typeface that employs mid-20th century futurist elements which ironically give it a retro feel.
Biome
      แม้ว่าความแตกต่างที่โดดเด่นของนิเวศน์วิทยาเป็นส่วนใหญ่เห็นได้ชัดอย่างชัดเจนในขนาดจุดขนาดใหญ่แบบอักษรนี้ไม่ได้เป็นเพียงที่เหมาะสมสำหรับหัวข้อการผลิตและโลโก้ ผลภาพนิเวศน์วิทยาของหรูหราหมายความว่ามันเป็นความสะดวกสบายอย่างเท่าเทียมกันในข้อความสั้น ๆ ในขณะที่ความสูง x ขนาดใหญ่และเคาน์เตอร์ใจกว้างให้มันชัดเจนอย่างง่ายดายแม้ในขนาดตัวอักษรขนาดเล็ก นิเวศน์วิทยาเป็นแบบอักษรร่วมสมัยที่มีพนักงานองค์ประกอบลัทธิกลางศตวรรษที่ 20 ซึ่งแดกดันให้ความรู้สึกย้อนยุค